คู่มือศึกษาดนตรีพื้นบ้านอีสาน

โหวดเป็นเครื่องดนตรีที่เป็นสัญลักษณ์ประจำจังหวัดร้อยเอ็ด โรงเยนพลาญชัยพิทยาคม อำเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด สืบสานตำนานโหวด โดยมีวงโหวดที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย คือมีนักดนตรีมากกว่า 900 คน รวมถึงมีผลงานวีซีดี การแสดงดนตรีพื้นบ้าน, เทปบรรเลงดนตรีพื้นบ้านและคู่มือศึกษาดนตรีพื้นบ้านอีสานเผยแพร่ไปทั่วประเทศ เป็นการประชาสัมพันธ์ชื่อเสียงจังหวัดร้อยเอ็ดอีด้านหนึ่ง เพราะการแสดงชุดต่างๆ ถ่ายทำในสถานที่ท่องเที่ยวของจังหวัดร้อยเอ็ด เช่น กู่กาสิงห์ อำเภอเกษตรวิสัย มหาเจดีย์ชัยมงคล อำเภอหนองพอก, บึงพลาญชัย อำเภอเมืองร้อยเอ็ด ฯลฯ
วงการศึกษาดนตรีพื้นบ้านอีสานในบ้านเรายังไม่มีตำราฝึกที่มีข้อมูลละเอียดเท่าคู่มือศึกษาดนตรีพื้นบ้านอีสานเล่มที่ท่านอ่านอยู่นี้ ซึ่งเป็นความพยายามและมุ่งหวังของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิชา ศิลปะ โรงเรียนพลาญชัยพิทยาคม โดยครูโยธิน พลเขต ผู้คร่ำหวอดด้านดนตรีพื้นบ้านอีสานมากกว่า 20 ปี ที่จะเผยแพร่ความรู้ด้านนี้ให้แพร่หลายสำหรับผู้สนใจอยากศึกษาทุกท่าน โดยเฉพาะลาย (เพลง) ดนตรีพื้นบ้านอีสานเก่าแก่ที่ได้บันทึกทั้งโน้ตไทยและสากลไว้นั้น นับว่าเป็นสิ่งที่ดีต่อวงการศึกษาโดยเฉพาะเยาวชนไทยจะได้เรียนรู้และปฏิบัติดนตรีเพื่อให้วัฒนธรรมไทยสืบทอดต่อไป

วันที่เผยแพร่ : Feb 14, 2020
สำนักพิมพ์ : -
หมวดหมู่ : ,
จำนวนหน้า : -
ความนิยม : 5 ดาว
SHARE ON SOCIAL MEDIA :
จำนวนที่มีให้บริการ: ไม่จำกัด

MARC Information

020 a : ISBN
9789747017151
245 a : Title
คู่มือศึกษาดนตรีพื้นบ้านอีสาน
260 b : Name of publisher
ประสานการพิมพ์
260 c : Date of publication
2550
520 a : Description
โหวดเป็นเครื่องดนตรีที่เป็นสัญลักษณ์ประจำจังหวัดร้อยเอ็ด โรงเยนพลาญชัยพิทยาคม อำเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด สืบสานตำนานโหวด โดยมีวงโหวดที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย คือมีนักดนตรีมากกว่า 900 คน รวมถึงมีผลงานวีซีดี การแสดงดนตรีพื้นบ้าน, เทปบรรเลงดนตรีพื้นบ้านและคู่มือศึกษาดนตรีพื้นบ้านอีสานเผยแพร่ไปทั่วประเทศ เป็นการประชาสัมพันธ์ชื่อเสียงจังหวัดร้อยเอ็ดอีด้านหนึ่ง เพราะการแสดงชุดต่างๆ ถ่ายทำในสถานที่ท่องเที่ยวของจังหวัดร้อยเอ็ด เช่น กู่กาสิงห์ อำเภอเกษตรวิสัย มหาเจดีย์ชัยมงคล อำเภอหนองพอก, บึงพลาญชัย อำเภอเมืองร้อยเอ็ด ฯลฯ วงการศึกษาดนตรีพื้นบ้านอีสานในบ้านเรายังไม่มีตำราฝึกที่มีข้อมูลละเอียดเท่าคู่มือศึกษาดนตรีพื้นบ้านอีสานเล่มที่ท่านอ่านอยู่นี้ ซึ่งเป็นความพยายามและมุ่งหวังของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิชา ศิลปะ โรงเรียนพลาญชัยพิทยาคม โดยครูโยธิน พลเขต ผู้คร่ำหวอดด้านดนตรีพื้นบ้านอีสานมากกว่า 20 ปี ที่จะเผยแพร่ความรู้ด้านนี้ให้แพร่หลายสำหรับผู้สนใจอยากศึกษาทุกท่าน โดยเฉพาะลาย (เพลง) ดนตรีพื้นบ้านอีสานเก่าแก่ที่ได้บันทึกทั้งโน้ตไทยและสากลไว้นั้น นับว่าเป็นสิ่งที่ดีต่อวงการศึกษาโดยเฉพาะเยาวชนไทยจะได้เรียนรู้และปฏิบัติดนตรีเพื่อให้วัฒนธรรมไทยสืบทอดต่อไป

ข้อมูลรีวิวหนังสือ

  • ไม่พบข้อมูลรีวิวของหนังสือเล่มนี้ในขณะนี้